วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2559

บทที่ 4 ระบบจำนวน

บทที่ 4 ระบบจำนวน

image
ระบบจำนวน (Namber System)
แนวคิด
                ชีวิตประจำวันมนุษย์ จำนวนและตัวเลขได้เข้ามาเกี่ยวข้องในการติดต่อสื่อสาร การแลกเปลี่ยนชื้อขาย การคิดคำนวณ และเก็บข้อมูลสถิติเพื่อมาทำวิจัย โอยอาศัยเครื่องคำนวณและคอมพิวเตอร์เมื่อมีจำนวนตัวเลขมาก หรือเมื่อต้องการความสะดวก ตัวเลขมีหลายชนิดคุณสมบัติแต่งต่างกันและสอดคล้องกันอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย จำนวนนับ จำนวนเต็ม จำนวนตรรกยะ และอตรรกยะ ซึ่งรวมทั่งหมดเรียกว่า ระบบจำนวนจริง
เนื้อหา 
  1. โครงสร้างของระบบจำนวนจริง
  2. จำนวนธรรมชาติ
  3. จำนวนเต็ม
  4. จำนวนตรรกยะ
  5. จำนวนอตรรกยะ
  6. จำนวนจริง
  7. ช่วงของจำนวน
  8. อสมการ
จุดประสงค์
  1. นักเรียนสามารถจำแนกโครงสร้างของของระบบจำนวนจริงได้ (K)
  2. นักเรียนสามารถใช้คุณสมบัติที่จำเป็นของจำนวนจริงได้อย่างถูกต้อง (P)
  3. นักเรียนเห็นความสำคัญของระบบจำนวน (A)
โครงสร้างของระบบจำนวนจริง
8-8-2558 16-35-41
            ระบบจำนวนจริงที่ใช้อยู่ในทางคณิตศาสตร์จำแนกเป็นโครงสร้างดังนี้
จากโครงสร้างระบบจำนวน จำนวนจริงเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมจำนวนชนิดต่าง ๆ แยกย่อยลงไปเป็นจำนวนตรรกยะและอตรรกยะ
จำนวนตรรกยะแบ่งเป็นจำนวนที่อยู่ในรูปของเศษส่วน ทศนิยมชนิดซ้ำและจำนวนเต็ม
จำนวนเต็มแบ่งเป็นจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบและศูนย์ ซึ่งจำนวนเต็มบวกและจำนวนธรรมชาติเป็นจำนวนชนิดเดียวกัน แต่จำนวนธรรมชาติหรือจำนวนนับมีกำเนิดและวิวัฒนาการมาก่อน
จำนวนแต่ละชนิดที่กล่าวถึงในโครงสร้างของระบบจำนวนมีบทบาทใช้ในการคำนวณและสื่อสาร และโประโยชน์ด้านวิทยาศาสตร์แพร่หลายทั่วถึงระหว่างมวลมนุษย์ชาติทั่วโลก
จำนวนธรรมชาติ (Natural Number)
image
            จำนวนธรรมชาติเรียกอีกชื้อหนึ่งว่า จำนวนนับ มนุษย์เรียนรู้เกี่ยวกับคำนวณตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์โดยเริ่มจากจากการนับซึ่งจะนับจำนวนสัตว์ที่ล่ามาเป็นอาหาร จำนวนสิ่งของที่มีอยู่ จำนวนที่ใช้ในการนับคือ 1,2,3,……. จำนวนนับเหล่านี้ในยุคดัน ๆ นับไม่ได้มากนัก และวิวัฒนาการนับได้มากขึ้นในระยะต่อมา จำนวนเหล่านี้เรียกว่า จำนวนธรรมชาติ (Natural Number) กำหนดให้เชตของจำนวนธรรมชาติเขียนแทนด้วย N โดยที่
                        N =   {1,2,3,………}
            หลังจากนั้นมนุษย์ได้เรียนรู้เกียวกับจำนวนมากขึ้นจึงมีนักคิดที่เรียกว่าคณิตศาสตร์ได้คิดค้นเกียวกับการปฎิบัติการระหว่างจำนวน ได้แก่ บวก (+) ลบ (-)  คูณ (x)  หาร() ตลอดจนกำหนดคุณสมบัติของจำนวนธรรมชาติให้เป็นระบบ โดยกำหนดคุณสมบัติระบบจำนวนธรรมชาติกับการบวกและคูณก่อน
ระบบจำนวนธรรมชาติ (System of Natural Numder)
            1.สมบัติปิด (Closure Law)
                        – กำหนดให้ a,b เป็นจำนวนธรรมชาติใด ๆ ในเชต N แล้ว
                        – สำหรับการบวก a+b เป็นจำนวนธรรมชาติ
                        – สำหรับการคูณ a.b เป็นจำนวนธรรมชาติ
                     เช่น 2,5 เป็นจำนวนนับจะได้ 2+5 = 7  โดยที่ 7 เป็นจำนวนนัลเช่นกัน
            2.สมบัติการจัดหมู่ (Associave Law)
                        – กำหนด a,b,c เป็นจำนวนธรรมชาติใด ๆ  ในเชต N แล้ว
                        – สำหรับการบวก (a+b)+c = a+(b+c) และสำหรับการคูณ (a.b).c = a.(b.c)
                   เช่น 2,5,9 เป็นจำนวนนับหรือจำนวนธรรมชาติจะได้ (2+5)+9 = 2+ (5+9)
            3.สมบัติสลับที่ (Commutative Law)
                         – กำหนด a,b เป็นจำนวนธรรมชาติใด ๆ  ในเชต N แล้ว
                         – สำหรับการบวก (a+b) = b+a และสำหรับการคูณ a.b = b.a
                    เช่น 3+2 = 2+3 ผลลัพท์ที่ได้ยังคงเท่ากัน
             4.เอกลักษณ์ (Identity) สำหรับการคูณ 1
                          – กำหนด a เป็นจำนวนธรรมชาติใด ๆ จะได้ a.1 = 1.a = a
                   เช่น b เป็นจำนวนธรรมชาติ จะได้ 1.b = b.1 = b
                   สำหรับเอกลัษณ์การบวกมนจำนวนธรรมชาติไม่มีกำหนดไว้
             5.สมบัติการกระจาย (Distridutive Law)
                          – ถ่า a,b,c เป็นจำนวนธรรมชาติใด ๆ จะได้ว่า  a.(b+c) = a.b + a.c
                      หรือ (b+c).a = b.a+c.a
หมายเหตุ การกำหนดเครื่องหมายคูณมีวิวัฒนาการตามลำดับ คือ ใช้ “ . ” แทนการคูณก่อนแล้วต่อมาคือเป็น “X” ที่เราคุ้นเคยในปัจจุบัน
เช่น 3 X 4 จะเขียนแทน 3.4
และ ab    จะเขียนแทน a.b
เนื่องจากต่อมามีการคิดจำนวนทศนิยมขึ้นการใช้เครื่องหมายคูณแบบเดิมทำให้เกิดความสับสนได้ จึงไม่นิยมแต่ก็ยังมีใช้ในคณิตศาสตร์บางเรื่อง
คุณสมบัติเกี่ยวกับการลบและการหาร
            กำหนดการลบโดยอาศัยคุณสมบัติของการบวก โดยที่การลบเป็นการกระทำกลับกันของการบวก ในจำนวนธรรมชาติ กล่าวคือถ้า a,b,d  เป็นจำนวนธรรมชาติซึ่ง a-b=d หมายความว่า a ลบออกด้วย b จะเป็นไปได้เมื่อจำนวน d ที่ทำให้ a = b+d เช่น 2-5 เท่ากับเท่าใด จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ 5-2 =  3 ซึ่ง 3 เป็นจำนวนธรรมชาติที่ 5 =2+3 แต่ 2-5 ไม่มีผลลัพธ์ในจำนวนธรรมชาติ
            กำหนดการหารโดยอาศัยคุณสมบัติของการคูณ โดยที่การหารเป็นการกระทำกลับของการคูณในจำนวนธรรมชาติ กล่าวคือ ถ้า a,b,c  เป็นจำนวนธรรมชาติซึ้ง  11= c หมายความว่า การหาร a ด้วย b จะเป็นไปได้เมื่อมี c ที่ทำให้ a = bc และเรียก c ว่าผลหารของ a และ b การหารด้วย a ด้วย  b เขียนแทน
1
จำนวนเต็ม (Integer Numder)
b-22
            เมื่อพิจารณา a,b ที่เป็นจำนวนธรรมชาติใด ๆ  จะเห็นได้ว่า a-b และ 11 , b 0 อาจ
เป็นจำนวนธรรมชาติหรือไม่ก็ได้ เช่น  2  ผลลัพธ์ของจำนวนเหล่านี้ไม่เป็นจำนวนธรรมชาติ
            นักคณิตศาสตร์ได้คิดค้นแก่ปัญหาเหล่านี้โดยเพิ่ม 0 (ศูนย์) เข้าไปในระบบจำนวนธรรมชาติ โดยกำหนด a เป็นจำนวนธรรมชาติใด ๆ จะได้ว่า a + 0 = 0 + a = a  เพิ่ม “ –a ” โดยกำหนด a+ (-a) = (-a) + a = 0 และเรียกว่า –a ว่าเป็นจำนวนเต็มลบ ของ a และนิยมเรียกจำนวนธรรมชาติเป็นจำนวนเต็มบวก รวมจำนวนเต็มบวก จำนวนศูนย์และจำนวนเต็มลบด้วยกันเป็นจำนวนเต็ม และเขียนแทนด้วย l โอยที่ l = {…..,-3,-2,-1,0,1,2,3,….} 
            พิจารณาความสัมพันธ์ของจำนวนธรรมชาติ N  = {1,2,3,…} พบว่าเป็นส่วนย่อยหรือเป็นเชตย่อยของ
เชต l
            สัญลักษณ์          Iแทนเชตจำนวนเต็มบวก                                   
                                    I = {1,2,3,…..}
                                    I–  แทนเชตจำนวนเต็มลบ
                                    I = {-1,-2,-3,….}
                                    a – b หมายถึง a+(-b) โดยที่ a , b เป็นจำนวนเต็มบวกใด ๆ
คุณสมบัติของจำนวนเต็ม
            ระบบของจำนวนเต็มกับการบวกและการคูณมีคุณสมบัติทั้งหมดเช่นเดียวกับจำนวนนับและมีสมบัติเพิ่มเติมดังนี้
  1. เอกลักษณ์ (ldentity) สำหรับการบวก 0 โดยที่ a เป็นจำนวนเต็มใด ๆ จะได้ a + 0 = a = 0 + a เช่น 5+0 = 5 = 0 + 5
  2. ผกผัน (lnverse) สำหรับการบวก สำหรับจำนวนเต็ม a ใด ๆ จะมีจำนวเต็มเพียงจำนวนเดียวเท่านั้น คือ -a ที่ทำให้ a+ (-a) = 0 =(-a) + a และเรียก –a นี้ว่า ผกผันการบวกของ a เช่น สำหรับจำนวน 5 มี -5 เป็นผกผัน โดยที่ 5+ (-5) = 0 = (-5)+5
จำนวนตรรกยะ (Rational Numder)
            ถ้าให้ a , b เป็นจำนวนเต็มใด ๆ พิจารณาผลหารของ11 พบว่าอาจเป็นจำนวนเต็มหรือไม่ก็ได้ นั้นคือจำนวนเต็มไม่มีคุณสมบัติปิดำหรับการหาร
                นักคณิตศาสตร์จึงคิดคัดจำนวนเต็มในรูปแบบเศษส่วน11โดยกำหนด 11 ,b0 เรียกว่าจำนวนตรรกยะ และจำนวนเต็ม a ใด ๆ ก็สามารถเขียนในรูปของเศษส่วนคือ 55 ได้ดังนั้นจึงนับว่าเป็นจำนวน ตรรกยะด้วย
            สำหรับเศษส่วน  11, b0 เมื่อทำให้อยู่ในรูปทศนิยมโดยการหารผลลัพธ์อาจจะเป็นทศนิยมซ้ำรู้จบ หรือ ทศนิยมซ้ำไม่รู้จบ อย่างใดอย่างหนึ่ง
            กล่าวได้ว่าจำนวนตรรกยะประกอบด้วย จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมซ้ำแบบรู้จบและไม่รู้จบ
สัญลักษณ์ ให้ Q แทนเชตจำนวนตรรกยะ และ Q ={ 77ซึ่ง p , q เป็นจำนวนเต็ม q0}
ทศนิยมซ้ำรู้จบ
            ได้แก่ จำนวนเศษส่วน  11,b0 มีผลหารเป็นทศนิยมลงตัว เช่น 88 = 0.4
หรือ = 0.4000… ซึ่งจะเห็นเป็นทศนิยมซ้ำรู้จบแม้ว่าจะมี 0 อีกก็ตาม
ทศนิยมซ้ำไม่รู้จบ
            ได้แก่ จำนวนเศษส่วน 11 ,b0 มีผลหารเป็นทศนิยมซ้ำกัน เช่น  99= 0.3333…เขียนแทนด้วย 0.3
นั้นคือสามารถเขียนจำนวนเศษส่วนในรูปทศนิยมซ้ำได้ และทำนองเดียวกัน สามารถเขียนทศนิยมซ้ำไปอยู่ในรูปเศษส่วนได้
1
1
2
คุณสมบัติของตรรกยะ
            จำนวนตรรกยะเป็นส่วนที่ประกอบขึ้นจากระบบจำนวนเต็มดังนั้นจึงมีคุณสมบัติเบื่องต้นเหมื่อนกันกับระบบจำนวนเต็มกับการบวกและคูณ และมีคุณสมบัติเพิ่มเติ่มดังนี้
            สมบัติผกผันการคูณ
            สำหรับจำนวน a 0 จะเป็นตรรกยะใด ๆ จะมีจำนวนตรรกยะ  00 เพียงจำนวนเดียวที่ทำ
ให้  4 และเรียก 00 ว่าเป็นผกผัน การคูณของ a และเขียนแทนด้วย 000
เช่น       5          มีอินเวอร์การคูณ คือ     111    ซึ่ง    4 
                2      มีอินเวอร์การคูณ คือ      3  ซึ่ง         11
สรุป ผลบวกของจำนวนตรรกยะสองจำนวนใด ๆ ยังเป็นจำนวนตรรกยะผลคูณของจำนวนตรรกยะสองจำนวนใด ๆ ยังเป็นจำนวนตรรกยะ
จำนวนอตรรกยะ (Irrational Numde)
            จำนวนอตรรกยะ คือ จำนวนที่ไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนได้  11, b0 เมื่อ a,b เป็นจำนวนเต็มได้ นั้นคือจำนวนตรรกยะคือจำนวนที่ไม่ได้ใช้จำนวนตรรกยะ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ Q’ จำนวนอตรรกยะได้แก่
  1. จำนวนทศนิยมไม่ซ้ำกันไม่รู้จบ เช่น 3124568…… 0.123123412345……
  2. จำนวนที่อยู่ในรูปกรณฑ์และไม่สามารถหาค่าให้เป็นจำนวนตรรกยะได้ เช่น 
                      222         =      1.41421…..
                      222         =      1.72305….
  1. จำนวน  π             =      141159…
                          e             =      2.71828….
การปฏิบัติการของจำนวนอตรรกยะ
            การบวกหรือลบ จำนวนอตรรกยะที่อยู๋ในรูปของกรณฑ์ จะบวกหรือลบกันได้เมื่ออันดับที่ของงกรณฑ์เท่ากัน และจำนวนภายในกรณฑ์เป็นจำนวนเดียวกัน
1
           
            การคูณ
                       1. เมื่อ x เป็นจำนวนจริงและ x30 จะได้ 5.5 = x
                           เช่น   222.222          =          2                                  ผลลัพธ์เป็นจำนวนอตรรกยะ
                                     4.4           =          3                                  ผลลัพธ์เป็นจำนวนอตรรกยะ
จำนวนจริง (Real Number)
Untitled-1
            เป็นจำนวนของจำนวนตรรกยะและอตรรกยะ มีคุณสมบัติครอบคลุมทั้งของจำนวนตรรกยะและอตตรกยะสำหรับการบวกและการคูณ ได้แก่ คุณสมบัติ การจักหมู่ การสลับที่ เอกลักษณ์ อินเวอร์ส และสมบัติการกระจาย เป็นต้น
            ตัวอย่างของจำนวนจริง คือ จำนวนในทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เช่น  222,15,π, 222+4
            1.333…. ,5, 0 ,1 ,  -10 , ……
            นอกจากคุณสมบัติดังกล่าวข้างต้นจำนวนจริงมีคุณสมบัติเพิ่มดังนี้
สมบัติการเท่ากัน (Equality Properties)
  1. คุณสมบัติการสะท้อน ให้ a เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้ว a = a
  2. คุณสมบัติการสมการ ให้ a และ b เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้ว ถ้า a = b แล้ว b = a
  3. คุณสมบัติการถ่ายทอด ให้ a,b และ c เป็นจำนวนจริงใดๆ แล้วถ้า a = b แล้ว b + cแล้ว a+c
  4. คุณสมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ให้ a, b และ c เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้วถ้า a = b แล้ว a + c = b + c
  5. คุณสมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากันให้ a , b และ c เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้วถ้า a = b แล้ว ac = bc
ตัวอย่าง จงแก้สมการต่อไปนี้โดยใช้คุณสมบัติเกี่ยวกับจำนวนจริงในแต่ละขั้นตอน
                              3(x-5)   =      x + 9
                              3x-15   =       x + 9 (ใช้สมบัติการกระจาย)
            3x – x – 15 + 15  =       x+(-x) + 9 +15 (ใช้สมบัติการบวกด้วยจำนวนเท่ากัน)
                                2x      =      24
                               (2x)     =     (24) (ใช้สมบัติคูณด้วยจำนวนเท่ากัน)
                   จะได้ว่า x      =     12
อสมการ (Tnequality)
            อสมการ หมายถึง การไม่เท่ากันของสิ่งของหรือการเปรียบเทียบจำนวน
คุณสมบัติไตรกรณี
            กำหนอดให้ a, b  เป็นจำนวนจริงใด ๆ เมื่อมีการเปรียบเทียบจะเกิดกรณีใด ๆ ดังนี้
  1. a = b
  2. a > b
  3. a < b
คุณสมบัติการไม่เท่ากัน
กำหนดให้ a, b , c เป็นจำนวนจริงใด ๆ
  1. การบวกด้วยจำนวนเท่ากัน
                     ถ้า a > b แล้ว a + c > b + c
  1. การคูณด้วยจำนวนเท่ากัน
                    ถ้า a > b และ c > 0 แล้ว –ac > bc
                    ถ้า a > b และ c < 0 แล้ว   ac < bc
                    ถ้า a > b และ c = 0 แล้ว   ac = bc =0
การแก้สมการดีกรีหนึ่ง อสมการมีลักษณะสำคัญคือแปรสูงสุดดีกรีเป็นหนึ่ง
            ตัวอย่าง จงแก้อสมการ x + 8 ≥ 10
            วิธีทำ      x + 8 + (-8) ≥  10 + (-8) (บอกด้วยอินเวอร์สการบวกของ 8)         
                                        X + 0 ≥  2          (เอกลักษณ์บวก 0)         
                                             X  ≥  2
คำตอบของอสมการคือ {x l x  2} หรือ [ 2, ∞ )
1
2
3
3
4
1
2